คู่มือการใช้งาน

การจัดการ Footer

By mudjarin -

September 09, 2019

Footer คือ Component ที่แสดงอยู่ด้านล่างสุดของเว็บไซต์ จะแสดงผลแบ่งออกเป็น 3 คอลัมน์

-คลิกที่ ตำแหน่งที่ 1 และ 2 เพื่อเข้าไปที่ส่วนของ Footer

– จะปรากฏหน้าให้ตั้งค่าดังภาพ

ตำแหน่งที่ 1 : คือในส่วนของการเลือกโหมดภาษา footer ในส่วนของภาษาไทย และภาษาอังกฤษ แถบภาษาจะขึ้นก็ต่อเมื่อเราเปิดโหมดการใช้งานหลายภาษา โดยจะมีภาษาไทยเป็นพื้นฐาน ตำแหน่งที่ 2 : คือปุ่ม Add เพื่อนเพิ่มแถวเนื้อหาของ Footer เมื่อกดปุ่ม Add จะได้ดังภาพ

โดยในส่วนต่างๆสามารถเพิ่ม/แก้ไขรายละเอียดได้ โดยการกดปุ่ม บวก ดังภาพ

โดยมี Element เนื้อหาให้เลือกดังนี้

– โดยหน้าจอจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนการใช้งานดังภาพ

ตำแหน่งที่ 1 : คือ Section ส่วนที่เป็นพื้นหลังทั้งหมด มีเครื่องมือดังภาพ

ส่วนที่ 1 : คือ ปุ่มตั้งค่าสามารถจัดการหน้าตั้งค่าได้ส่วนที่ 2 : คือ ปุ่มเพิ่มคอลัมน์ส่วนที่ 3 : คือ ปุ่มลบ Section

ส่วนที่ 1 ตั้งค่าสามารถปรับแต่งได้ดังนี้ – หน้า Styling เกี่ยวกับตัวภาพพื้นหลัง

ส่วนที่ 1 : Padding คือ ระยะห่างของตัวอักษรภายในภาพกับกรอบนอกสุด แต่เป็นการปรับทั้ง4ด้านพร้อมกัน สามารถกดที่ปุ่ม

เพื่อปรับในส่วนของแต่ละด้านได้

ส่วนที่ 2 : Margin คือ ระยะห่างของภาพพื้นหลังกับกรอบนอกสุด แต่เป็นการปรับทั้ง4ด้านพร้อมกัน สามารถกดที่ปุ่ม

เพื่อปรับในส่วนของแต่ละด้านได้

ส่วนที่ 3 : Cornor คือ ความโค้งมนมุมของขอบภาพพื้นหลัง แต่เป็นการปรับทั้ง4ด้านพร้อมกัน สามารถกดที่ปุ่ม

เพื่อปรับในส่วนของแต่ละด้านได้

ส่วนที่ 4 : ฺBorder คือ กรอบของรูปภาพ แต่เป็นการปรับทั้ง4ด้านพร้อมกัน สามารถกดที่ปุ่ม

เพื่อปรับในส่วนของแต่ละด้านได้

Border สามารถแบ่งออกเป็นดังภาพ

color คือ สีของขอบ ช่องข้างๆคือลักษณะของเส้นกรอบ แบ่งได้ดังนี้– Solid คือ เส้นขอบปกติ

– Dotted คือ เส้นขอบลักษณะเป็น จุด

– Dashed คือ เส้นขอบเป็นเส้นปะ

– Double คือ เส้นขอบปกติ 2เส้นซ้อนกัน

– Groove คือ เส้นขอบแบบเงาเข้มซ้อนอ่อน

– Ridge คือ เส้นขอบแบบเงาอ่อนซ้อนเข้ม

– Inset คือ เส้นขอบเงาสีเข้มไปอ่อน

– Outset คือ เส้นขอบเงาสีอ่อนไปเข้ม

ส่วนที่ 5 : Shadow คือ เปิด-ปิดเงาของภาพพื้นหลัง

– หน้า Background

ส่วนที่ 1 : คือส่วนของภาพพื้นหลังสามารถตรงพื้นที่ในส่วนที่1 เพื่อใส่รูปภาพที่ต้องการได้ ส่วนที่ 2 : คือส่วนของสีพื้นหลัง สามารถเลือกสีได้ส่วนที่ 3 : คือค่าความทึบแสงของสีที่เราเลือก ยิ่งค่าน้อยสีิยิ่งจาง ยิ่งค่าเยอะสียิ่งเข้มส่วนที่ 4 : คือค่าความเบลอ/ความชัดเจนของรูปภาพ

(ภาพส่วนการใช้งานจากด้านบน)

ตำแหน่งที่ 2 : Column คือในส่วนของรายละเอียด มีเครื่องมือดังภาพ

ส่วนที่ 1 : คือ ปุ่มตั้งค่าสามารถจัดการหน้าตั้งค่าได้ รายละเอียดการใช้งานทั้งหมดจะเหมือนกับปุ่ม Section ส่วนที่ 2 : คือ ปุ่มเพิ่มแถวส่วนที่ 3 : คือ ปุ่มโคลนคอลัมน์ เป็นการคัดลอกคอลัมน์เพิ่มโดยมีเนื้อหาละรายเอียดเหมือนกัน ดังภาพ

ส่วนที่ 4 : คือ ปุ่มลบเนื้อหารายละเอียดคอลัมน์นั้นๆ

ตำแหน่งที่ 3 : Element คือ รายละเอียดเนื้อหาย่อยๆภายใน มีเครื่องมือดังภาพ

ส่วนที่ 1 : คือ ปุ่มตั้งค่าสามารถจัดการหน้าตั้งค่าได้ รายละเอียดการใช้งานทั้งหมดจะเหมือนกับปุ่ม Section และ Column ส่วนที่ 2 : คือ ปุ่มโคลนคอลัมน์ เป็นการคัดลอกคอลัมน์เพิ่มโดยมีเนื้อหาละรายเอียดเหมือนกัน เมื่อกดปุ่มโคลนข้อมูลในส่วนที่ 1 แล้วจะได้ในส่วนที่ 2 ดังภาพ

ส่วนที่ 3 : คือ ปุ่มลบ เป็นปุ่มลบเฉพาะ Element นั้นทิ้งแต่ส่วนอื่นยังอยู่

Ketshopweb | ระบบร้านค้าออนไลน์ ขายคล่อง ส่งสะดวก ครบในที่เดียว

www.ketshopweb.com

เรายินดีให้คำปรึกษาการทำเว็บไซต์ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย

ติดต่อมาที่ 02-038-5588 , email : sales@ketshopweb.com